การจัดแสดงรถยนต์ของ โตโยต้า มอเตอร์ คอร์โปเรชั่น Toyota Motor Corporation (TMC) ภายในงาน โตเกียว มอเตอร์ โชว์ (5)


โตโยต้า ให้นิยามการเดินทางในอนาคตด้วยรถโตโยต้า คอนเซ็ปต์-ไอ (TOYOTA Concept-i series) ระบบจักรกลอัจฉริยะขั้นสูงที่จะเติบโตไปกับผู้ขับขี่ ใช้ระบบจักรกลอัจฉริยะ (AI) ทำให้รถเข้าใจผู้ขับขี่ และทำให้ผู้ขับขี่และรถเป็นเพื่อนคู่ใจกัน

นอกจากเป็นระบบขับเคลื่อนแบบ 4 ล้อแล้ว รถโตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอ ที่จัดแสดงที่งานแสดงสินค้าอิเล็กทรอนิกส์สำหรับผู้บริโภคนานาชาติในเดือนมกราคมปีนี้ ยังเป็นรถขับเคลื่อนขนาดเล็กเอนกประสงค์และยานพาหนะที่โลดแล่นบนถนนคนเดิน

รถโตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอ (TOYOTA Concept-i series)

โตโยต้าได้เพิ่มความเร้าใจในแต่ละยุคที่แทนที่กันไม่ได้ เช่น “เสรีภาพและความสุขในการเดินทาง” ภายใต้แนวคิด รถเป็นสินค้าที่ผลิตมาจากคำว่า “เป็นที่รัก” รถโตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอมีจุดมุ่งหมายคือ “รถที่เป็นที่รัก” แห่งยุคใหม่ที่มีคอนเซ็ปต์ว่า “เป็นเพื่อนคู่ใจ และเป็นมากกว่าเครื่องยนต์ “ ที่เข้าใจผู้ขับขี่ได้ดีกว่า พร้อมทะยานไปกับผู้ขับขี่เสมือนเป็นเพื่อนคู่ใจที่ขาดกันไม่ได้

เทคโนโลยีหลักของรถโตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอเป็นเทคโนโลยีที่เข้าใจคน (เรียนรู้), ใช้จักรกลอัจฉริยะในการจดจำอารมณ์และประเมินความชอบของผู้ขับขี่ เทคโนโลยีที่เข้าใจคน (เรียนรู้) และเทคโนโลยีการขับเคลื่อนอัตโนมัติจะพาผู้ขับขี่เดินทางไปด้วยความปลอดภัยและทำให้เกิดความผ่อนคลายในจิตใจ (ปกป้อง) นอกจากนั้น การผสมผสานเทคโนโลยีกับเอเจนต์เทคโนโลยี (Agent Technology) จึงมีความเป็นไปได้ในการพัฒนาเทคโนโลยีให้สามารถทำนายความรู้สึกของผู้ขับขี่ได้ อันจะนำไปสู่ความสนุกกับประสบการณ์การเดินทาง (ที่สนุกสนาน)

เพื่อมอบประสบการณ์ใหม่ ๆ และความตื่นเต้นให้ผู้ขับขี่ได้มากขึ้นภายใต้แนวคิด “เสรีภาพและความเพลิดเพลินในการเดินทางของทุกคน” ยานพาหนะขนาดเล็กอันเป็นสากลนี้ได้เพิ่มคอนเซ็ปต์-ไอเข้าไปเพื่อให้ผู้ขับขี่มีเสรีภาพในการเดินทาง รวมทั้งผู้ใช้รถวีลแชร์และผู้สูงอายุ นอกจากนั้น รถที่เคลื่อนที่ในพื้นที่ทางเดินเท้ายังรวมอยู่ในรถชุดนี้ เพื่อทำให้รถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระในบริเวณเดียวกับคนเดินเท้า

โตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอ

รุ่น 4 ล้อซึ่งเป็นตัวแทนของโตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอ ใช้จักรกลอัจฉริยะและเป็นเพื่อนคู่ใจที่เข้าใจคน รถนี้มีเป้าหมายให้เป็นที่รักแห่งยุคใหม่
เป็นรถที่รวบรวมเทคโนโลยีที่เข้าใจคน (เรียนรู้) ประกอบกับการขับเคลี่อนแบบอัตโนมัติและมีเทคโนโลยีเอเจนท์ ทำให้ผู้ขับขี่รู้สึกปลอดภัยและผ่อนคลาย (ปกป้อง) ตลอดจนมีความสนุกแบบใหม่กับประสบการณ์การเดินทางทำให้เกิดความเพลิดเพลินในการขับขี่
ห้องเครื่องที่มีนิยามใหม่ของรถในอนาคตและมีการประสานระหว่างมนุษย์และเครื่องจักร รวมทั้ง เอเจนท์ที่ทำให้เกิดประสบการณ์ใหม่กับผู้ใช้รถ
โตโยต้าวางแผนทดสอบถนนโดยใช้รถที่ติดตั้งฟังก์ชั่นคอนเซ็ปต์นี้ในญี่ปุ่นในปี พ.ศ.2563
ลักษณะสำคัญ เทคโนโลยีที่เข้าใจคน (เรียนรู้)

คอนเซ็ปต์-ไอ จะประเมินอารมณ์และระดับการตื่นตัวที่อ่านจากการแสดงออกของผู้ขับขี่, การกระทำ และน้ำเสียงของผู้ขับขี่ในลักษณะที่ซับซ้อน คอนเซ็ปต์-ไอจะเปรียบเทียบข้อมูลทั่วไป เช่น ข่าวในเว็บ กับข้อมูลของแต่ละบุคคล เช่น กิจกรรมสื่อสังคม ข้อมูลจีพีเอส และประวัติการสนทนาในรถ ตลอดจนประเมินความชอบของผู้ขับขี่โดยอาศัยเรื่องราวที่เกิดขึ้น

เทคโนโลยี เช่น การเรียนรู้เชิงลึก จะใช้กับเทคโนโลยีที่เข้าใจคน (เรียนรู้) เช่น การวัดอารมณ์และประเมินความชอบ การใช้เทคโนโลยีนี้ จะทำให้โตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอมอบนวัตกรรมที่ทรงคุณค่าด้านความปลอดภัยและความผ่อนคลายทางจิตใจ (ปกป้อง) รวมทั้งประสบการณ์ในการขับขี่ (ที่สนุกสนาน)

ความปลอดภัยและความผ่อนคลายทางจิตใจ (ปกป้อง) “เรียนรู้เกี่ยวกับคน” x เทคโนโลยีการขับขี่แบบอัตโนมัติ

นอกจากสภาพภายนอกของรถแล้ว คอนเซ็ปต์-ไอ จะประเมินสภาพผู้ขับขี่โดยใช้เทคโนโลยีที่เข้าใจคน และควบคุมความน่าเชี่อถือของผู้ขับขี่และรถ ตัวอย่างเช่น ถ้ารถมีความน่าเชื่อถือสูง แต่จำเป็นต้องมีการช่วยเหลือ เช่นในสถานการณ์ที่ผู้ขับขี่ตกอยู่ในอันตรายหรือเครียด คอนเซ็ปต์-ไอ จะปรับไปสู่โหมดการขับขี่แบบอัตโนมัติ การยึดหลัก “ความสัมพันธ์ระหว่างคนขับกับรถยนต์” ในการขับขี่แบบอัตโนมัติ มีวัตถุประสงค์เพื่อเฝ้าระวังและช่วยเหลือผู้ขับขี่ตามความจำเป็น คอนเซ็ปต์-ไอ จะเป็นผู้นำทางให้เกิดความปลอดภัยและความผ่อนคลายทางจิตใจ

ยิ่งไปกว่านั้น คอนเซ็ปต์-ไอ จะช่วยผู้ขับขี่โดยกระตุ้นประสาทสัมผัสทั้งห้า รวมทั้งการมองเห็น การสัมผัส และการได้กลิ่น ทั้งนี้จะขึ้นกับอารมณ์ของผู้ขับขี่ ระดับความเหนื่อยล้า และระดับการตื่นตัวที่จะทำให้ผู้ขับขี่อยู่ในสภาพตื่นตัวหากรู้สึกง่วง และจะช่วยผู้ขับขี่ที่มีความเครียดให้รู้สึกผ่อนคลาย

ความสนุกแบบใหม่กับประสบการณ์ในการขับขี่ (เร้าใจ) “เรียนรู้เกี่ยวกับคน” x เอเจนต์เทคโนโลยี

(Agent Technology)

คอนเซ็ปต์-ไอ จะเข้ามาเกี่ยวข้องในการสนทนา ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับอารมณ์และความชอบของผู้ขับขี่ นอกจากนั้น รถจะแนะนำหัวข้อที่เป็นที่สนใจตามอารมณ์ของผู้ขับขี่ ทำให้เกิดรูปแบบใหม่ของการสนทนาอิสระแบบสองทาง รถจะสร้าง “แผนที่ทางอารมณ์” โดยค้นหาข้อมูลจีพีเอสและแสดงอารมณ์ผู้ขับขี่เป็นระยะๆ ในการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับอารมณ์ของแต่ละบุคคลและใช้ข้อมูลเป็นเสมือนข้อมูลใหญ่ โตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอ จะให้ประสบการณ์ใหม่ๆ โดยเสนอเส้นทางใหม่ที่สำราญใจโดยอาจต้องเดินทางอ้อมเล็กน้อย

แบบของตัวรถประกอบด้วยห้องโดยสารที่มีภาพในอนาคตและภายในรถเปิดโล่งและเรียบง่าย เริ่มจากวางเอเจนท์ที่จุดตรงกลางของแผงหน้าปัด ธีมการออกแบบจากภายในสู่ภายนอกด้วยสไตล์การออกแบบที่ไร้รอยต่อ คือ การออกแบบของแผงหน้าปัดสู่ภายนอกรถ นอกจากนั้น ยังให้ประสบการณ์ใหม่แก่ผู้ขับขี่ผ่านการประสานระหว่างมนุษย์และเครื่องจักรกับเอเจนท์ที่ใช้ระบบเฮดอัพ ดิสเพลย์แบบ 3 มิติ

โตโยต้าวางแผนที่จะใช้โตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอบนท้องถนนประมาณปี พ.ศ. 2563 และจะทำการทดสอบถนนของรถที่ติดฟังก์ชั่นคอนเซปต์นี้ในงานนิทรรศการในประเทศญี่ปุ่น

มิติตัวรถ ยาวxกว้างxสูง 4,510/1,830/1,475 มม. ระยะห่างระหว่างล้อหน้า-หลัง 2,700 มม., ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า, ระยะทางวิ่งที่ขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า ประมาณ 300 กม.

โตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอ (ไรด์)

รถขับเคลื่อนขนาดเล็กที่เน้นการใช้งานได้ทั่วไปในหลักการ “ออกแบบเพื่อรองรับการเดินทางในเมือง (User-friendly City Mobility) ติดตั้งประตูแบบปีกนก และเบาะนั่งไฟฟ้าอเนกประสงค์ควบคุมด้วยจอยสติ๊กเพื่อให้ผู้ที่ต้องใช้วีลแชร์สามารถขึ้น-ลงได้สะดวก รวมทั้งออกแบบพื้นที่ด้านหลังให้เก็บวีลแชร์ได้อย่างปลอดภัยอีกด้วย
ที่นั่งและฟังก์ชั่นการขับขี่แบบอัตโนมัติทำให้ผู้ขับขี่ขับอย่างปลอดภัยและมั่นคง
นอกจากนั้นยังมีการแชร์กับผู้ขับขี่คนอื่น ทำให้การขับขี่ง่ายขึ้น
ลักษณะสำคัญ ข้อกำหนดสากลให้ใช้กับผู้ใช้รถวีลแชร์

รถรุ่นนี้มีประกอบด้วยประตูแบบปีกนกที่เปิดได้กว้างและมีที่นั่งไฟฟ้าที่เลื่อนไปที่ประตูทางเข้า ซึ่งแม้แต่ผู้ใช้วีลแชร์ที่รู้สึกไม่สะดวกใจในการเคลื่อนย้ายระหว่างวีลแชร์กับรถ ก็ยังสามารถเคลื่อนย้ายได้อย่างง่ายดาย นอกจากนั้นได้มีการออกแบบการเปิดปิดประตูเพื่อช่วยเคลื่อนย้ายผู้ใช้วีลแชร์ และออกแบบที่นั่งให้เก็บวีลแชร์ไว้ด้านหลังได้อย่างง่ายดาย

ยิ่งไปกว่านั้น ยังมีการใช้จอยสติ๊ก ไม่มีทั้งพวงมาลัย คันเร่งและแป้นเบรค และขนาดของรถทำให้ผู้ใช้วีลแชร์สามารถจอดได้ รวมทั้งเข้า/ออกในที่จอดรถสำหรับรถหนึ่งคัน โดยการเน้นการใช้งานง่ายขณะขับขี่ หยุดหรือจอด

นอกจากนั้น เอเจนท์จักรกลอัจฉริยะ ซึ่งเป็นลักษณะหนึ่งของโตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอ จะวางบนแผงหน้าปัดขนาดใหญ่และให้ข้อมูลที่ช่วยในการเดินทาง เช่นให้ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับคนพิการและคนชรา

ยานพาหนะที่ให้ความปลอดภัยและความผ่อนคลายทางจิตใจ

ที่นั่งของผู้ขับขี่จะอยู่ตรงกลางขณะขับขี่ ขณะที่จอดและหยุด จะใช้ฟังก์ชั่นช่วยในการขับขี่ เช่น ระบบช่วยเหลือการขับจะมีทั้งการจอดอัตโนมัติ (Automated Parking) และระบบเข้าจอดโดยไม่มีผู้ขับขี่ (Automated Valet Parking) เพื่อให้ทั้งผู้พิการ และคนสูงอายุสามารถขับรถยนต์ด้วยความปลอดภัยและผ่อนคลาย

โตโยต้ายังมีแนวคิดที่จะแชร์การให้บริการร่วมกันกับโตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอ (ไรด์) ในการแชร์กับคนจำนวนมากจะทำให้การเดินทางทั่วถึง ปัจจุบันการเดินทางจะเข้าได้เฉพาะคนที่เป็นเจ้าของ โตโยต้ามีเป้าหมายที่จะให้ทำให้เกิดการเดินทางที่สะดวก ที่ใครๆ ก็เข้าได้ โตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอ (ไรด์) ยังสร้างความปลอดภัย ความสะดวกและความสนุกสนานในการเดินทาง แม้ในสถานที่ภายนอก การใช้เอเจนท์จักรกลอัจฉริยะในการสื่อสารกับคนขับ

มิติตัวรถ ยาวxกว้างxสูง 2,510/1,300/1,5,00 มม., ระยะห่างล้อหน้า-หลัง 1,800 มม., ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า, ระยะทางวิ่งที่ขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า ประมาณ 100-150 กม.

โตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอ (วอล์ก)

ด้วยขนาดที่กะทัดรัดเหมาะกับบริเวณทางเดินและฟังก์ชั่นการขับขี่แบบอัตโนมัติ รถรุ่นนี้สามารถเพิ่มระยะการเคลื่อนไหวด้วยความปลอดภัยและความผ่อนคลาย
ล้อจำนวน 3 ล้อ เป็นกลไกที่ปรับเปลี่ยนระยะฐานล้อ มีฟังก์ชั่นการบังคับเลี้ยว และมีพื้นต่ำ ทำให้ง่ายต่อการใช้และไม่จำเป็นต้องใส่เสื้อผ้าหรือรองเท้าที่เหมาะกับการขับขี่
การให้บริการการแชร์ที่จุดชมวิวและสถานที่อื่นๆ เพื่อเป็นการช่วยเหลือในบริเวณสถานที่ภายนอก

โตโยต้า ให้นิยามการเดินทางในอนาคตด้วยรถโตโยต้า คอนเซ็ปต์-ไอ (TOYOTA Concept-i series) ระบบจักรกลอัจฉริยะขั้นสูงที่จะเติบโตไปกับผู้ขับขี่ ใช้ระบบจักรกลอัจฉริยะ (AI) ทำให้รถเข้าใจผู้ขับขี่ และทำให้ผู้ขับขี่และรถเป็นเพื่อนคู่ใจกัน

นอกจากเป็นระบบขับเคลื่อนแบบ 4 ล้อแล้ว รถโตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอ ที่จัดแสดงที่งานแสดงสินค้าอิเล็กทรอนิกส์สำหรับผู้บริโภคนานาชาติในเดือนมกราคมปีนี้ ยังเป็นรถขับเคลื่อนขนาดเล็กเอนกประสงค์และยานพาหนะที่โลดแล่นบนถนนคนเดิน

รถโตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอ (TOYOTA Concept-i series)

โตโยต้าได้เพิ่มความเร้าใจในแต่ละยุคที่แทนที่กันไม่ได้ เช่น “เสรีภาพและความสุขในการเดินทาง” ภายใต้แนวคิด รถเป็นสินค้าที่ผลิตมาจากคำว่า “เป็นที่รัก” รถโตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอมีจุดมุ่งหมายคือ “รถที่เป็นที่รัก” แห่งยุคใหม่ที่มีคอนเซ็ปต์ว่า “เป็นเพื่อนคู่ใจ และเป็นมากกว่าเครื่องยนต์ “ ที่เข้าใจผู้ขับขี่ได้ดีกว่า พร้อมทะยานไปกับผู้ขับขี่เสมือนเป็นเพื่อนคู่ใจที่ขาดกันไม่ได้

เทคโนโลยีหลักของรถโตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอเป็นเทคโนโลยีที่เข้าใจคน (เรียนรู้), ใช้จักรกลอัจฉริยะในการจดจำอารมณ์และประเมินความชอบของผู้ขับขี่ เทคโนโลยีที่เข้าใจคน (เรียนรู้) และเทคโนโลยีการขับเคลื่อนอัตโนมัติจะพาผู้ขับขี่เดินทางไปด้วยความปลอดภัยและทำให้เกิดความผ่อนคลายในจิตใจ (ปกป้อง) นอกจากนั้น การผสมผสานเทคโนโลยีกับเอเจนต์เทคโนโลยี (Agent Technology) จึงมีความเป็นไปได้ในการพัฒนาเทคโนโลยีให้สามารถทำนายความรู้สึกของผู้ขับขี่ได้ อันจะนำไปสู่ความสนุกกับประสบการณ์การเดินทาง (ที่สนุกสนาน)

เพื่อมอบประสบการณ์ใหม่ ๆ และความตื่นเต้นให้ผู้ขับขี่ได้มากขึ้นภายใต้แนวคิด “เสรีภาพและความเพลิดเพลินในการเดินทางของทุกคน” ยานพาหนะขนาดเล็กอันเป็นสากลนี้ได้เพิ่มคอนเซ็ปต์-ไอเข้าไปเพื่อให้ผู้ขับขี่มีเสรีภาพในการเดินทาง รวมทั้งผู้ใช้รถวีลแชร์และผู้สูงอายุ นอกจากนั้น รถที่เคลื่อนที่ในพื้นที่ทางเดินเท้ายังรวมอยู่ในรถชุดนี้ เพื่อทำให้รถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระในบริเวณเดียวกับคนเดินเท้า

โตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอ

รุ่น 4 ล้อซึ่งเป็นตัวแทนของโตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอ ใช้จักรกลอัจฉริยะและเป็นเพื่อนคู่ใจที่เข้าใจคน รถนี้มีเป้าหมายให้เป็นที่รักแห่งยุคใหม่ เป็นรถที่รวบรวมเทคโนโลยีที่เข้าใจคน (เรียนรู้) ประกอบกับการขับเคลี่อนแบบอัตโนมัติและมีเทคโนโลยีเอเจนท์ ทำให้ผู้ขับขี่รู้สึกปลอดภัยและผ่อนคลาย (ปกป้อง) ตลอดจนมีความสนุกแบบใหม่กับประสบการณ์การเดินทางทำให้เกิดความเพลิดเพลินในการขับขี่ ห้องเครื่องที่มีนิยามใหม่ของรถในอนาคตและมีการประสานระหว่างมนุษย์และเครื่องจักร รวมทั้ง เอเจนท์ที่ทำให้เกิดประสบการณ์ใหม่กับผู้ใช้รถ โตโยต้าวางแผนทดสอบถนนโดยใช้รถที่ติดตั้งฟังก์ชั่นคอนเซ็ปต์นี้ในญี่ปุ่นในปี พ.ศ.2563 ลักษณะสำคัญ เทคโนโลยีที่เข้าใจคน (เรียนรู้)

คอนเซ็ปต์-ไอ จะประเมินอารมณ์และระดับการตื่นตัวที่อ่านจากการแสดงออกของผู้ขับขี่, การกระทำ และน้ำเสียงของผู้ขับขี่ในลักษณะที่ซับซ้อน คอนเซ็ปต์-ไอจะเปรียบเทียบข้อมูลทั่วไป เช่น ข่าวในเว็บ กับข้อมูลของแต่ละบุคคล เช่น กิจกรรมสื่อสังคม ข้อมูลจีพีเอส และประวัติการสนทนาในรถ ตลอดจนประเมินความชอบของผู้ขับขี่โดยอาศัยเรื่องราวที่เกิดขึ้น

เทคโนโลยี เช่น การเรียนรู้เชิงลึก จะใช้กับเทคโนโลยีที่เข้าใจคน (เรียนรู้) เช่น การวัดอารมณ์และประเมินความชอบ การใช้เทคโนโลยีนี้ จะทำให้โตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอมอบนวัตกรรมที่ทรงคุณค่าด้านความปลอดภัยและความผ่อนคลายทางจิตใจ (ปกป้อง) รวมทั้งประสบการณ์ในการขับขี่ (ที่สนุกสนาน)

ความปลอดภัยและความผ่อนคลายทางจิตใจ (ปกป้อง) “เรียนรู้เกี่ยวกับคน” x เทคโนโลยีการขับขี่แบบอัตโนมัติ

นอกจากสภาพภายนอกของรถแล้ว คอนเซ็ปต์-ไอ จะประเมินสภาพผู้ขับขี่โดยใช้เทคโนโลยีที่เข้าใจคน และควบคุมความน่าเชี่อถือของผู้ขับขี่และรถ ตัวอย่างเช่น ถ้ารถมีความน่าเชื่อถือสูง แต่จำเป็นต้องมีการช่วยเหลือ เช่นในสถานการณ์ที่ผู้ขับขี่ตกอยู่ในอันตรายหรือเครียด คอนเซ็ปต์-ไอ จะปรับไปสู่โหมดการขับขี่แบบอัตโนมัติ การยึดหลัก “ความสัมพันธ์ระหว่างคนขับกับรถยนต์” ในการขับขี่แบบอัตโนมัติ มีวัตถุประสงค์เพื่อเฝ้าระวังและช่วยเหลือผู้ขับขี่ตามความจำเป็น คอนเซ็ปต์-ไอ จะเป็นผู้นำทางให้เกิดความปลอดภัยและความผ่อนคลายทางจิตใจ

ยิ่งไปกว่านั้น คอนเซ็ปต์-ไอ จะช่วยผู้ขับขี่โดยกระตุ้นประสาทสัมผัสทั้งห้า รวมทั้งการมองเห็น การสัมผัส และการได้กลิ่น ทั้งนี้จะขึ้นกับอารมณ์ของผู้ขับขี่ ระดับความเหนื่อยล้า และระดับการตื่นตัวที่จะทำให้ผู้ขับขี่อยู่ในสภาพตื่นตัวหากรู้สึกง่วง และจะช่วยผู้ขับขี่ที่มีความเครียดให้รู้สึกผ่อนคลาย

ความสนุกแบบใหม่กับประสบการณ์ในการขับขี่ (เร้าใจ) “เรียนรู้เกี่ยวกับคน” x เอเจนต์เทคโนโลยี

(Agent Technology)

คอนเซ็ปต์-ไอ จะเข้ามาเกี่ยวข้องในการสนทนา ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับอารมณ์และความชอบของผู้ขับขี่ นอกจากนั้น รถจะแนะนำหัวข้อที่เป็นที่สนใจตามอารมณ์ของผู้ขับขี่ ทำให้เกิดรูปแบบใหม่ของการสนทนาอิสระแบบสองทาง รถจะสร้าง “แผนที่ทางอารมณ์” โดยค้นหาข้อมูลจีพีเอสและแสดงอารมณ์ผู้ขับขี่เป็นระยะๆ ในการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับอารมณ์ของแต่ละบุคคลและใช้ข้อมูลเป็นเสมือนข้อมูลใหญ่ โตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอ จะให้ประสบการณ์ใหม่ๆ โดยเสนอเส้นทางใหม่ที่สำราญใจโดยอาจต้องเดินทางอ้อมเล็กน้อย

แบบของตัวรถประกอบด้วยห้องโดยสารที่มีภาพในอนาคตและภายในรถเปิดโล่งและเรียบง่าย เริ่มจากวางเอเจนท์ที่จุดตรงกลางของแผงหน้าปัด ธีมการออกแบบจากภายในสู่ภายนอกด้วยสไตล์การออกแบบที่ไร้รอยต่อ คือ การออกแบบของแผงหน้าปัดสู่ภายนอกรถ นอกจากนั้น ยังให้ประสบการณ์ใหม่แก่ผู้ขับขี่ผ่านการประสานระหว่างมนุษย์และเครื่องจักรกับเอเจนท์ที่ใช้ระบบเฮดอัพ ดิสเพลย์แบบ 3 มิติ

โตโยต้าวางแผนที่จะใช้โตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอบนท้องถนนประมาณปี พ.ศ. 2563 และจะทำการทดสอบถนนของรถที่ติดฟังก์ชั่นคอนเซปต์นี้ในงานนิทรรศการในประเทศญี่ปุ่น

มิติตัวรถ ยาวxกว้างxสูง 4,510/1,830/1,475 มม. ระยะห่างระหว่างล้อหน้า-หลัง 2,700 มม., ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า, ระยะทางวิ่งที่ขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า ประมาณ 300 กม.

โตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอ (ไรด์)

รถขับเคลื่อนขนาดเล็กที่เน้นการใช้งานได้ทั่วไปในหลักการ “ออกแบบเพื่อรองรับการเดินทางในเมือง (User-friendly City Mobility) ติดตั้งประตูแบบปีกนก และเบาะนั่งไฟฟ้าอเนกประสงค์ควบคุมด้วยจอยสติ๊กเพื่อให้ผู้ที่ต้องใช้วีลแชร์สามารถขึ้น-ลงได้สะดวก รวมทั้งออกแบบพื้นที่ด้านหลังให้เก็บวีลแชร์ได้อย่างปลอดภัยอีกด้วย ที่นั่งและฟังก์ชั่นการขับขี่แบบอัตโนมัติทำให้ผู้ขับขี่ขับอย่างปลอดภัยและมั่นคง นอกจากนั้นยังมีการแชร์กับผู้ขับขี่คนอื่น ทำให้การขับขี่ง่ายขึ้น ลักษณะสำคัญ ข้อกำหนดสากลให้ใช้กับผู้ใช้รถวีลแชร์

รถรุ่นนี้มีประกอบด้วยประตูแบบปีกนกที่เปิดได้กว้างและมีที่นั่งไฟฟ้าที่เลื่อนไปที่ประตูทางเข้า ซึ่งแม้แต่ผู้ใช้วีลแชร์ที่รู้สึกไม่สะดวกใจในการเคลื่อนย้ายระหว่างวีลแชร์กับรถ ก็ยังสามารถเคลื่อนย้ายได้อย่างง่ายดาย นอกจากนั้นได้มีการออกแบบการเปิดปิดประตูเพื่อช่วยเคลื่อนย้ายผู้ใช้วีลแชร์ และออกแบบที่นั่งให้เก็บวีลแชร์ไว้ด้านหลังได้อย่างง่ายดาย

ยิ่งไปกว่านั้น ยังมีการใช้จอยสติ๊ก ไม่มีทั้งพวงมาลัย คันเร่งและแป้นเบรค และขนาดของรถทำให้ผู้ใช้วีลแชร์สามารถจอดได้ รวมทั้งเข้า/ออกในที่จอดรถสำหรับรถหนึ่งคัน โดยการเน้นการใช้งานง่ายขณะขับขี่ หยุดหรือจอด

นอกจากนั้น เอเจนท์จักรกลอัจฉริยะ ซึ่งเป็นลักษณะหนึ่งของโตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอ จะวางบนแผงหน้าปัดขนาดใหญ่และให้ข้อมูลที่ช่วยในการเดินทาง เช่นให้ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับคนพิการและคนชรา

ยานพาหนะที่ให้ความปลอดภัยและความผ่อนคลายทางจิตใจ

ที่นั่งของผู้ขับขี่จะอยู่ตรงกลางขณะขับขี่ ขณะที่จอดและหยุด จะใช้ฟังก์ชั่นช่วยในการขับขี่ เช่น ระบบช่วยเหลือการขับจะมีทั้งการจอดอัตโนมัติ (Automated Parking) และระบบเข้าจอดโดยไม่มีผู้ขับขี่ (Automated Valet Parking) เพื่อให้ทั้งผู้พิการ และคนสูงอายุสามารถขับรถยนต์ด้วยความปลอดภัยและผ่อนคลาย

โตโยต้ายังมีแนวคิดที่จะแชร์การให้บริการร่วมกันกับโตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอ (ไรด์) ในการแชร์กับคนจำนวนมากจะทำให้การเดินทางทั่วถึง ปัจจุบันการเดินทางจะเข้าได้เฉพาะคนที่เป็นเจ้าของ โตโยต้ามีเป้าหมายที่จะให้ทำให้เกิดการเดินทางที่สะดวก ที่ใครๆ ก็เข้าได้ โตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอ (ไรด์) ยังสร้างความปลอดภัย ความสะดวกและความสนุกสนานในการเดินทาง แม้ในสถานที่ภายนอก การใช้เอเจนท์จักรกลอัจฉริยะในการสื่อสารกับคนขับ

มิติตัวรถ ยาวxกว้างxสูง 2,510/1,300/1,5,00 มม., ระยะห่างล้อหน้า-หลัง 1,800 มม., ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า, ระยะทางวิ่งที่ขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า ประมาณ 100-150 กม.

โตโยต้าคอนเซ็ปต์-ไอ (วอล์ก)

ด้วยขนาดที่กะทัดรัดเหมาะกับบริเวณทางเดินและฟังก์ชั่นการขับขี่แบบอัตโนมัติ รถรุ่นนี้สามารถเพิ่มระยะการเคลื่อนไหวด้วยความปลอดภัยและความผ่อนคลาย ล้อจำนวน 3 ล้อ เป็นกลไกที่ปรับเปลี่ยนระยะฐานล้อ มีฟังก์ชั่นการบังคับเลี้ยว และมีพื้นต่ำ ทำให้ง่ายต่อการใช้และไม่จำเป็นต้องใส่เสื้อผ้าหรือรองเท้าที่เหมาะกับการขับขี่ การให้บริการการแชร์ที่จุดชมวิวและสถานที่อื่นๆ เพื่อเป็นการช่วยเหลือในบริเวณสถานที่ภายนอก

etetewtgae

Top Rated

error: Content is protected !!