นิสสัน ฟิวเจอร์ส 2019 นำเสนอเทรนด์การขับเคลื่อนในเอเชียและโอเชียเนีย


ผู้เชี่ยวชาญชี้ ความปลอดภัย เทคโนโลยีที่มีมนุษย์เป็นศูนย์กลาง และพลังงานกริดถือเป็นปัจจัยสำคัญของการขับเคลื่อนในภูมิภาค

งานนิสสัน ฟิวเจอร์สที่ฮ่องกงนำเสนอสามเทรนด์การขับเคลื่อนในภูมิภาคเอเชีย และโอเชียเนีย ได้แก่ ยานพาหนะที่ทำหน้าที่เป็นแหล่งพลังงานเคลื่อนที่ บทบาทของมนุษย์ในระบบการขับขี่แบบไร้คนขับ และความสำคัญของความปลอดภัยในนวัตกรรมการขับเคลื่อน

งานนิสสัน ฟิวเจอส์ครั้งที่เจ็ดจัดขึ้นเมื่อวันที่ 8 – 10 มีนาคม ณ เกาะฮ่องกง ภายใต้หัวข้อ “เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและการขับขี่” ในงานมีตัวแทนจาก 13 ประเทศมารวมตัวกันเพื่อเสวนาเรื่องการเปลี่ยนแปลงของยานยนต์ เมือง และเทคโนโลยีการขับเคลื่อน โดยตัวแทนจากภาครัฐ ผู้นำในโลกธุรกิจ และผู้บริหารนิสสันหารือกันเรื่องอนาคตของเมืองและการขับเคลื่อน

1. ยานพาหนะในรูปแบบของแหล่งพลังงานเคลื่อนที่ ผู้ร่วมเสวนาร่วมกันอภิปรายว่ามุมมองต่อยานยนต์ไฟฟ้าจะเปลี่ยนจากยานพาหนะ เป็นแหล่งพลังงานสำหรับบ้านเรือนและคืนพลังงานไปพลังงานกริดได้หรือไม่

“หากรถยนต์ถูกมองว่าเป็นแหล่งพลังงานเคลื่อนที่เป็นหลัก และยานพาหนะเป็นรอง เราจะปฏิบัติกับมันด้วยวิธีที่ต่างออกไปหรือไม่” ทิม วอชิงตัน ผู้ก่อตั้งบริษัท เจ็ท ชาร์จ ออสเตรเลียกล่าวในการเสวนา เรื่อง “การเปลี่ยนวิถีชีวิต” เมืองแห่งอนาคต

นิโคลัส โทมัส ผู้อำนวยการโลกฝ่ายยานยนต์ไฟฟ้านิสสันชี้ว่าการขับเคลื่อนไฟฟ้าอาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ในตลาดพลังงาน นอกจากนั้นยังได้แสดงให้เห็นถึงการใช้แบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้าเป็นแหล่งพลังงานสำหรับบ้าน ออฟฟิศ และพลังงานกริด

2. มนุษย์ยังคงต้องเป็นศูนย์กลางในการขับขี่และเทคโนโลยีแห่งอนาคต ปัจจุบัน การขับขี่แบบไร้คนขับยังคงเน้นที่เทคโนโลยี อย่างไรก็ตามผู้ร่วมเสวนาเห็นพ้องว่ามนุษย์ยังเป็นกุญแจสำคัญในการเปลี่ยนวิถีชีวิตและการขับเคลื่อน

“มนุษย์เรามีความรู้สึกนึกคิด และนี่คือสิ่งที่รถยนต์ต้องการ ดังนั้นการขับขี่แบบไร้คนขับคือการที่มนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับรถยนต์” หากมนุษย์ไม่มีส่วนร่วมในระบบ ระบบนั้นก็ไร้ประสิทธิภาพ” มาร์เทน เซียร์แฮทซ์ หัวหน้าผู้อำนวยการเทคโนโลยี ศูนย์วิจัยนิสสัน ณ ซิลิคอนแวลลีย์ กล่าว

“แน่นอนว่าเราต้องการประสิทธิภาพ แต่สไตล์และสีสันของการใช้ชีวิตก็ยังต้องคงอยู่” เลโอนิโด ปูลิโด้ ที่สาม ผู้ช่วยเลขาธิการ กระทรวงพลังงาน สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ กล่าว

3. ก้าวต่อไปของการขับเคลื่อนอย่างชาญฉลาดคือ การเสียชีวิตเป็นศูนย์ การเสวนาเรื่องอนาคตการขับขี่ได้นำเสนอว่าการทำให้ความปลอดภัยไร้อุบัติเหตุเป็นหัวใจหลักของนวัตกรรมการขับขี่

“การขับเคลื่อนอัจฉริยะจะช่วยพัฒนาสังคมในหลาย ๆ ด้าน โดยจะมุ่งเน้นไปที่การลดการบาดเจ็บและเสียชีวิต อุบัติเหตุทางถนนถือเป็นปัญหาระดับโลก ทุก ๆ 25 วินาทีจะมีคนเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ” ลิม ฟาฮิมา ผู้ร่วมเสวนาจากควีนไรด์ส จากอินโดนีเซีย กล่าว “เราต้องการทางออกแบบครบวงจรซึ่งมีเป้าหมายหลักในการลดอุบัติทางรถยนต์

ผู้เชี่ยวชาญชี้ ความปลอดภัย เทคโนโลยีที่มีมนุษย์เป็นศูนย์กลาง และพลังงานกริดถือเป็นปัจจัยสำคัญของการขับเคลื่อนในภูมิภาค

งานนิสสัน ฟิวเจอร์สที่ฮ่องกงนำเสนอสามเทรนด์การขับเคลื่อนในภูมิภาคเอเชีย และโอเชียเนีย ได้แก่ ยานพาหนะที่ทำหน้าที่เป็นแหล่งพลังงานเคลื่อนที่ บทบาทของมนุษย์ในระบบการขับขี่แบบไร้คนขับ และความสำคัญของความปลอดภัยในนวัตกรรมการขับเคลื่อน

งานนิสสัน ฟิวเจอส์ครั้งที่เจ็ดจัดขึ้นเมื่อวันที่ 8 – 10 มีนาคม ณ เกาะฮ่องกง ภายใต้หัวข้อ “เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและการขับขี่” ในงานมีตัวแทนจาก 13 ประเทศมารวมตัวกันเพื่อเสวนาเรื่องการเปลี่ยนแปลงของยานยนต์ เมือง และเทคโนโลยีการขับเคลื่อน โดยตัวแทนจากภาครัฐ ผู้นำในโลกธุรกิจ และผู้บริหารนิสสันหารือกันเรื่องอนาคตของเมืองและการขับเคลื่อน

1. ยานพาหนะในรูปแบบของแหล่งพลังงานเคลื่อนที่ ผู้ร่วมเสวนาร่วมกันอภิปรายว่ามุมมองต่อยานยนต์ไฟฟ้าจะเปลี่ยนจากยานพาหนะ เป็นแหล่งพลังงานสำหรับบ้านเรือนและคืนพลังงานไปพลังงานกริดได้หรือไม่

“หากรถยนต์ถูกมองว่าเป็นแหล่งพลังงานเคลื่อนที่เป็นหลัก และยานพาหนะเป็นรอง เราจะปฏิบัติกับมันด้วยวิธีที่ต่างออกไปหรือไม่” ทิม วอชิงตัน ผู้ก่อตั้งบริษัท เจ็ท ชาร์จ ออสเตรเลียกล่าวในการเสวนา เรื่อง “การเปลี่ยนวิถีชีวิต” เมืองแห่งอนาคต

นิโคลัส โทมัส ผู้อำนวยการโลกฝ่ายยานยนต์ไฟฟ้านิสสันชี้ว่าการขับเคลื่อนไฟฟ้าอาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ในตลาดพลังงาน นอกจากนั้นยังได้แสดงให้เห็นถึงการใช้แบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้าเป็นแหล่งพลังงานสำหรับบ้าน ออฟฟิศ และพลังงานกริด

2. มนุษย์ยังคงต้องเป็นศูนย์กลางในการขับขี่และเทคโนโลยีแห่งอนาคต ปัจจุบัน การขับขี่แบบไร้คนขับยังคงเน้นที่เทคโนโลยี อย่างไรก็ตามผู้ร่วมเสวนาเห็นพ้องว่ามนุษย์ยังเป็นกุญแจสำคัญในการเปลี่ยนวิถีชีวิตและการขับเคลื่อน

“มนุษย์เรามีความรู้สึกนึกคิด และนี่คือสิ่งที่รถยนต์ต้องการ ดังนั้นการขับขี่แบบไร้คนขับคือการที่มนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับรถยนต์” หากมนุษย์ไม่มีส่วนร่วมในระบบ ระบบนั้นก็ไร้ประสิทธิภาพ” มาร์เทน เซียร์แฮทซ์ หัวหน้าผู้อำนวยการเทคโนโลยี ศูนย์วิจัยนิสสัน ณ ซิลิคอนแวลลีย์ กล่าว

“แน่นอนว่าเราต้องการประสิทธิภาพ แต่สไตล์และสีสันของการใช้ชีวิตก็ยังต้องคงอยู่” เลโอนิโด ปูลิโด้ ที่สาม ผู้ช่วยเลขาธิการ กระทรวงพลังงาน สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ กล่าว

3. ก้าวต่อไปของการขับเคลื่อนอย่างชาญฉลาดคือ การเสียชีวิตเป็นศูนย์ การเสวนาเรื่องอนาคตการขับขี่ได้นำเสนอว่าการทำให้ความปลอดภัยไร้อุบัติเหตุเป็นหัวใจหลักของนวัตกรรมการขับขี่

“การขับเคลื่อนอัจฉริยะจะช่วยพัฒนาสังคมในหลาย ๆ ด้าน โดยจะมุ่งเน้นไปที่การลดการบาดเจ็บและเสียชีวิต อุบัติเหตุทางถนนถือเป็นปัญหาระดับโลก ทุก ๆ 25 วินาทีจะมีคนเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ” ลิม ฟาฮิมา ผู้ร่วมเสวนาจากควีนไรด์ส จากอินโดนีเซีย กล่าว “เราต้องการทางออกแบบครบวงจรซึ่งมีเป้าหมายหลักในการลดอุบัติทางรถยนต์

etetewtgae

Top Rated

error: Content is protected !!