อดีตเส้นทางชาวอีสาน – คาราวานวัวต่าง ขนสินค้า ชาวกุลา ปี พ.ศ. 2440


ครอบครัวของท้าวสุวรรณ เจ้าเมืองธวัชบุรี

– ในรัชกาลที่ 3 ปี 2381 พบบันทึกเรื่องราวของชาวกุลาที่เดินทางมาค้าขายทางภาคเหนือ แถว เชียงใหม่ ตาก สวรรคโลก กำแพงเพชร

– ในรัชกาลที่ 4 พบบันทึกเรื่องราวของชาวกุลาเดินทางมาค้าขายทางภาคอีสาน (เรื่องการขัดแย้งทางการค้าวัวระหว่างชาวกะลากับเจ้าเมืองร้อยเอ็ด สุวรรณภูมิ และ ขอนแก่น)

– ในรัชกาลที่ 5 ปี 2399 สนธิสัญญาบาวริ่ง มีประเด็น บุคคลในบังคับของอังกฤษ เมื่อเดินทางมาสยามต้องได้รับความคุ้มครอง และ อำนวยความสะดวกทางการค้า ทำให้เอื้อประโยชน์ต่อชาวกุลา

นอกจากนี้ยังมี ภาพวาดชาวกุลา ของชาวยุโรปสมัย ร. 5 ที่มักเดินทางมาค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้ากับชาวบ้านสองฝั่งโขง (คนลาว และ คนอีสาน)

Drawing of Kula People

พวกเขาส่วนหนึ่งลงมาตามลำน้ำโขง มีจุดพักตั้งเป็นชุมชนอยู่ที่เมืองห้วยทราย แขวงหัวของ (ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นแขวงบ่แก้ว) ยึดอาชีพขุดแสง(แก้วตามริมน้ำโขง ชุมชนแห่งนี้มีวัดจอมเขามณีรัตน์เป็นศูนย์รวมใจชาวกุลา

ส่วนใหญ่ผ่านแดนอีสานข้ามทุ่งร้อนแล้งมุ่งไปไพลินในกัมพูชา ซึ่งมีสายแสงอุดม

เรียกได้ว่าตั้งครอบครัวกันตามรายทาง ให้รุ่นต่อๆมาได้พึ่งพาอาศัย
มีข้อสังเกต คือ พวกที่ทุ่งแล้งไปได้ คือ พวกที่เดินข้ามช่วงฤดูฝนกับฤดูหนาว ในช่วงฤดูฝน ท้องทุ่งช่วงนี้คือสวรรค์บนดินอย่างแท้จริง คนอาจสามารถรู้ดีที่สุด

การเดินทางของชาวกุลามาสยามได้หลายเส้นทาง

-จากเมืองมะละแหม่ง เข้ามาทางเมืองระแหง หรือ ตาก ผ่านเพชรบูรณ์ หรือ สระบุรี ไปภาคอีสาน ผ่านนครราชสีมา

– จากทางเชียงตุงเดินทางไปค้าขายในภาคเหนือ เช่น เชียงใหม่ ตาก แพร่ ลำปาง ลำพูน น่าน สวรรคโลก กำแพงเพชร เป็นต้น

– เส้นทางช่องตะโก ซึ่งเป็นเขาระหว่างโคราชไปกบินทร์บุรี เพื่อไปที่พนัสนิคม พนมสารคาม และ นครนายก

– เส้นทางผ่านดงพญากลางไป อ. สนามแจง จ. ลพบุรี

ทุ่งกุลามีเนื้อที่ 2.1 ล้านไร่ ในบางพื้นที่ของจังหวัดร้อยเอ็ด ยโสธร ศรีสะเกษ มหาสารคาม และ สุรินทร์

– ชาวกุลา หรือ ไทยใหญ่ เป็นพ่อค้า แม่ค้าเร่ขายสินค้า เช่น ผ้าแพร สีย้อมผ้า เครื่องเงิน เครื่องเขิน ขันทองเหลือง เชี่ยนหมาก ง้าว ฆ้อง เป็นต้น มาเป็นกลุ่มเนื่องจากสมัยก่อนมีโจรผู้ร้าย และ สัตว์ร้ายมากมาย ค่ำไหนนอนนั่น ส่วนมากจะอาศัยนอนตามศาลาวัด
เมื่อขายหมด จะซื้อสินค้าทางภาคอีสาน เช่น ช้าง งาช้าง เขาสัตว์ ไหม วัวควาย เป็นต้น ขึ้นไปขายยังภูมิลำเนาด้วย

– ชาวกุลาชำนาญการขุดพลอย จึงมีส่วนหนึ่งเดินทางไปขุดพลอยที่จันทบุรี กาญจนบุรี พระตะบอง เป็นต้น

ชาวกุลา ที่ตลาดเมืองโคราช ปี 2449 ชาวจีนอพยพเข้ามาหลายครั้ง นิยมทำการค้าขายในเมืองต่างๆ เมื่อเปิดร้านมักจะเขียนชื่อเป็นภาษาจีน พบได้ทั่วไป

ชาวกุลา ที่ อ. เสิงสาง จ. นครราชสีมา ปี 2448

เส้นทางผ่านทุ่งกุลาร้องไห้ในอดีต อ.สุวรรณภูมิ จ.ร้อยเอ็ด มีนาคม ปี 2483
เครดิต : ดร.โรเบิร์ต ลาริมอร์ เพนเดิลตัน
Roi Et province (Thailand), road cut through an area of bare plains ,Tung Gula Rong Hai is an extensive plain in the center of the Korat region. Sawanapum township, Roi Et province, northeast Thailand. March, 1940.

ครอบครัวชาวบ้านกำลังอพยพย้ายถิ่นฐาน ไปยังถิ่นใหม่ จ.ร้อยเอ็ด มีนาคม ปี 2483

คาราวานเกวียนขนสินค้าในอดีต บริเวณที่พักคนเดินทาง ก่อนถึงดงพญาเย็น ปากช่อง จ. นครราชสีมา

ครอบครัวของท้าวสุวรรณ เจ้าเมืองธวัชบุรี

- ในรัชกาลที่ 3 ปี 2381 พบบันทึกเรื่องราวของชาวกุลาที่เดินทางมาค้าขายทางภาคเหนือ แถว เชียงใหม่ ตาก สวรรคโลก กำแพงเพชร

- ในรัชกาลที่ 4 พบบันทึกเรื่องราวของชาวกุลาเดินทางมาค้าขายทางภาคอีสาน (เรื่องการขัดแย้งทางการค้าวัวระหว่างชาวกะลากับเจ้าเมืองร้อยเอ็ด สุวรรณภูมิ และ ขอนแก่น)

- ในรัชกาลที่ 5 ปี 2399 สนธิสัญญาบาวริ่ง มีประเด็น บุคคลในบังคับของอังกฤษ เมื่อเดินทางมาสยามต้องได้รับความคุ้มครอง และ อำนวยความสะดวกทางการค้า ทำให้เอื้อประโยชน์ต่อชาวกุลา

นอกจากนี้ยังมี ภาพวาดชาวกุลา ของชาวยุโรปสมัย ร. 5 ที่มักเดินทางมาค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้ากับชาวบ้านสองฝั่งโขง (คนลาว และ คนอีสาน)

Drawing of Kula People

พวกเขาส่วนหนึ่งลงมาตามลำน้ำโขง มีจุดพักตั้งเป็นชุมชนอยู่ที่เมืองห้วยทราย แขวงหัวของ (ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นแขวงบ่แก้ว) ยึดอาชีพขุดแสง(แก้วตามริมน้ำโขง ชุมชนแห่งนี้มีวัดจอมเขามณีรัตน์เป็นศูนย์รวมใจชาวกุลา

ส่วนใหญ่ผ่านแดนอีสานข้ามทุ่งร้อนแล้งมุ่งไปไพลินในกัมพูชา ซึ่งมีสายแสงอุดม

เรียกได้ว่าตั้งครอบครัวกันตามรายทาง ให้รุ่นต่อๆมาได้พึ่งพาอาศัย มีข้อสังเกต คือ พวกที่ทุ่งแล้งไปได้ คือ พวกที่เดินข้ามช่วงฤดูฝนกับฤดูหนาว ในช่วงฤดูฝน ท้องทุ่งช่วงนี้คือสวรรค์บนดินอย่างแท้จริง คนอาจสามารถรู้ดีที่สุด

การเดินทางของชาวกุลามาสยามได้หลายเส้นทาง

-จากเมืองมะละแหม่ง เข้ามาทางเมืองระแหง หรือ ตาก ผ่านเพชรบูรณ์ หรือ สระบุรี ไปภาคอีสาน ผ่านนครราชสีมา

- จากทางเชียงตุงเดินทางไปค้าขายในภาคเหนือ เช่น เชียงใหม่ ตาก แพร่ ลำปาง ลำพูน น่าน สวรรคโลก กำแพงเพชร เป็นต้น

- เส้นทางช่องตะโก ซึ่งเป็นเขาระหว่างโคราชไปกบินทร์บุรี เพื่อไปที่พนัสนิคม พนมสารคาม และ นครนายก

- เส้นทางผ่านดงพญากลางไป อ. สนามแจง จ. ลพบุรี

ทุ่งกุลามีเนื้อที่ 2.1 ล้านไร่ ในบางพื้นที่ของจังหวัดร้อยเอ็ด ยโสธร ศรีสะเกษ มหาสารคาม และ สุรินทร์

- ชาวกุลา หรือ ไทยใหญ่ เป็นพ่อค้า แม่ค้าเร่ขายสินค้า เช่น ผ้าแพร สีย้อมผ้า เครื่องเงิน เครื่องเขิน ขันทองเหลือง เชี่ยนหมาก ง้าว ฆ้อง เป็นต้น มาเป็นกลุ่มเนื่องจากสมัยก่อนมีโจรผู้ร้าย และ สัตว์ร้ายมากมาย ค่ำไหนนอนนั่น ส่วนมากจะอาศัยนอนตามศาลาวัด เมื่อขายหมด จะซื้อสินค้าทางภาคอีสาน เช่น ช้าง งาช้าง เขาสัตว์ ไหม วัวควาย เป็นต้น ขึ้นไปขายยังภูมิลำเนาด้วย

- ชาวกุลาชำนาญการขุดพลอย จึงมีส่วนหนึ่งเดินทางไปขุดพลอยที่จันทบุรี กาญจนบุรี พระตะบอง เป็นต้น

ชาวกุลา ที่ตลาดเมืองโคราช ปี 2449 ชาวจีนอพยพเข้ามาหลายครั้ง นิยมทำการค้าขายในเมืองต่างๆ เมื่อเปิดร้านมักจะเขียนชื่อเป็นภาษาจีน พบได้ทั่วไป

ชาวกุลา ที่ อ. เสิงสาง จ. นครราชสีมา ปี 2448

เส้นทางผ่านทุ่งกุลาร้องไห้ในอดีต อ.สุวรรณภูมิ จ.ร้อยเอ็ด มีนาคม ปี 2483 เครดิต : ดร.โรเบิร์ต ลาริมอร์ เพนเดิลตัน Roi Et province (Thailand), road cut through an area of bare plains ,Tung Gula Rong Hai is an extensive plain in the center of the Korat region. Sawanapum township, Roi Et province, northeast Thailand. March, 1940.

ครอบครัวชาวบ้านกำลังอพยพย้ายถิ่นฐาน ไปยังถิ่นใหม่ จ.ร้อยเอ็ด มีนาคม ปี 2483

คาราวานเกวียนขนสินค้าในอดีต บริเวณที่พักคนเดินทาง ก่อนถึงดงพญาเย็น ปากช่อง จ. นครราชสีมา

etetewtgae

Top Rated

error: Content is protected !!